Development laterite soil cement containing waste ash from industrial and agricultural as brick interface
Abstract
จากการทดลองวิจัยพบว่าตัวอย่างดินลูกรังผสมเถ้าทิ้งจากอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมสามารถเป็นวัสดุก่อสร้างอิฐประสานได้ตามความเหมาะสมตามอัตราส่วนและกาลังที่ต้องการ โดยมีองค์ประกอบทางเคมีของดินลูกรัง, เถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อย พบว่าดินลูกรังมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), อลูมิน่า ออกไซด์ (Al2O3), ไอรอน ออกไซด์ (Fe2O3) เป็น 58.60 %, 25.50%, 13.00% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Quartz เถ้าแกลบมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), แคลเซียม ออกไซด์ (CaO), โพแทสเซียม ออกไซด์ (K2O) เป็น 94.00%, 2.00%, 2.80% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Cristobalite เถ้าชานอ้อยมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), แคลเซียม ออกไซด์ (CaO), โพแทสเซียม ออกไซด์ (K2O) เป็น 74.7%, 07.8%, 5.4% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Quartz ผลการทดสอบกาลังอัดพบว่าตัวอย่างทดสอบเถ้าแกลบที่มีกาลังอัดน้อยกว่า 70 ksc. 34 ตัวอย่างระหว่าง 70-100 ksc. 7 ตัวอย่าง และมากกว่า 100 ksc. 24 ตัวอย่าง ตัวอย่างทดสอบเถ้าชานอ้อยที่มีกาลังอัดน้อยกว่า 70 ksc. 25 ตัวอย่างระหว่าง 70-100 ksc. 8 ตัวอย่างและมากกว่า 100 ksc. 32 ตัวอย่าง ซึ้งพบว่าดินลูกรังและเถ้าทิ้งเมื่อเพิ่มปริมาณปูนมากขึ้นกาลังรับแรงเพิ่มตามสาดับผู้ใช้ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงาน ผลการทดสอบการดดูดซึมน้าพบว่าอิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยหลังการแช่น้าไม่สามารคงรูปอยู่ได้ 11 ตัวอย่างซึ่งเห็นว่าไม่มีวัสดุที่ก่อให้เกิดการแข็งตัว อิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยสามารถดูซึมน้าได้น้อยกว่า 30% จานวน 51 ตัวอย่างและ 53 ตัวอย่าง ตามลาดับ ซึ้งสามารถนาไปใช้ในงานก่อสร้างได้ผลการทดสอบการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากความชื้นพบว่าอิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือเกิดน้อยมากจานวน 10 และ14 ตัวอย่างตามลาดับซึ้งเป็นคุณสมบัติที่ดีของวัสดุก่อสร้าง
URI
http://repository.rmutp.ac.th/123456789/1221http://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/1221
Collections
- Research Report [286]