Show simple item record

dc.contributor.authorPhontharaphong, Yuvadee
dc.contributor.authorRuengsombat, Mayuree
dc.contributor.authorTongsupon, Montana
dc.contributor.authorTunprawat, Chanon
dc.contributor.authorSrijantuek, Kiattipong
dc.date.accessioned2011-08-04T07:18:14Z
dc.date.available2011-08-04T07:18:14Z
dc.date.issued2011-08-04T07:18:14Z
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/816
dc.descriptionรายงานการวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระคร, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาออกแบบสื่อการเรียนรู้ทางศิลปะโดยการใช้รูปแบบหลักทัศนศิลป์มาสร้างแนวคิดในการออกแบบ ผลงานออกมาในรูปแบบงานปั้นที่สามารถจับต้องได้และเป็นภาพวาดที่ดูง่าย ให้มีความเหมาะสมกับเด็กพิการทางสมอง ในรูปแบบที่แตกต่างกัน สร้างการเรียนรู้ในด้านต่างๆ สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ ทางอารมณ์ ผลการวิจัยที่ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์พบว่าสามารถเป็นสื่อการเรียนรู้ได้กับเด็กพิการทางสมองและปัญญา เป็นเพศหญิงทั้งหมด มีอายุอยู่ระหว่าง 7ปี-18ปีขึ้นไป ระดับความพิการอยู่ในระดับพิการทางปัญญาทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ความพิการทางปัญญาระดับน้อย (เชาว์ปัญญา 50-70)เป็นเด็กที่มีความพิการทางปัญญาที่เรียนหนังสือได้ ระดับที่ 2 ความพิการทางปัญญาระดับน้อย-ปานกลาง (เชาว์ปัญญา35-49)เป็นเด็กที่พอฝึกอบรมได้ และระดับที่ 3 ความพิการทางปัญญาระดับปานกลาง-มาก(เชาว์ปัญญา 20-34) เป็นเด็กที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสรรถภาพทางการแพทย์และได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม ลักษณะความพิการทางปัญญา 3 ระดับนี้ เป็นกลุ่มความพิการทางสมองที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ซึ่งจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะ 5 ด้าน คือ ทักษะการช่วยเหลือตัวเอง ทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก-มัดใหญ่ ทักษะด้านสังคม-อารมณ์ ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านสติปัญญา ซึ่ง เด็กพิการทางสมองและปัญญา การพัฒนาทางด้านต่างๆจะน้อยกว่าเด็กปกติ ผู้สอนต้องให้ความสำคัญเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นการฟื้นสมรรถภาพของเด็ก การเตรียมความพร้อม การฝึกทักษะโดยใช้กิจกรรมที่หลากหลายแตกต่างกัน เริ่มจากง่ายไปหายาก การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นตัวช่วยให้เด็กได้มีโอกาสสร้างสรรค์ กระทำในสิ่งที่เขาคิดให้เป็นจริง หรือเป็นสิ่งที่มองเห็นและสัมผัสได้ ซึ่งเป็นการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กได้ด้วย ผลทางด้านการออกแบบสื่อการเรียนรู้ทางศิลปะ กำหนดรูปแบบของรูปทรง เป็น ภาพวาด กับงานปั้นลักษณะนูนสูง เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านต่างๆนั้น แบ่งออกเป็นการพัฒนา 3 ด้านคือ เรียนรู้เรื่องรูปทรง เรื่องขนาด เรื่องสี รูปแบบภาพวาดเป็นลักษณะการวาดแบบเหมือนจริง เพื่อสร้างความสนใจให้เด็ก ส่วนงานปั้นลักษณะนูนสูง จะมีเหมือนกันกับภาพวาด แต่สามารถจับต้องได้ การหยิบจับมีความเหมาะสมกับมือเด็ก และจะมีความนิ่มที่สามารถพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กได้ การพัฒนาทั้ง 3 ด้านนั้น โดยด้านที่ 1 การเรียนรู้เรื่องรูปทรง จะใช้รูปทรงอิสระมาสร้างแนวคิดในการออกแบบ โดยพัฒนารูปทรงมาจากรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งเป็นรูปทรงพื้นฐาน ด้านที่ 2 การเรียนรู้เรื่องขนาด ใช้รูปทรงช้างมาสร้างแนวคิด เพราะเด็กมีความสนใจช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่ สามารถแบ่งขนาดได้หลายระดับ ด้านที่ 3 การเรียนรู้เรื่องสี ใช้รูปทรงนก มาเป็นแนวคิดในการออกแบบ เพราะนกเป็นสัตว์น่ารักอยู่ร่วมกันเป็นฝูงสามารถแบ่งได้หลายสี เมื่อทดสอบกับเด็กพิการทางสมองได้เรียนรู้สื่อ เด็กมีความเข้าใจ ขั้นตอนได้ง่าย มีสมาธิ ฝึกพัฒนาการทางอารมณ์ อยู่ในระดับที่ ดี ทั้งภาพวาดและงานปั้นเด็กให้ความสนใจ อยากเรียนรู้ว่ามันคืออะไร รูปแบบของสื่อสามารถสร้างความเข้าใจได้ง่าย ดึงดูดความสนใจให้เด็ก มีสมาธิจดจ่ออยู่กับสื่อ และช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ เพราะ เด็กมีความสนุกสนานปรบมือดีใจทุกครั้งที่ทำได้ สามารถพัฒนากล้ามเนื้อได้ ระยะเวลาการเรียนรู้ เด็กใช้เวลาสนใจอยู่กับสื่อเป็นเวลานาน เข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยากเป็นการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับเด็กพิการทางสมองแต่เมื่อมีการเปรียบเทียบทั้ง 3 รูปแบบ รูปแบบที่เด็กส่วนใหญ่มีความชื่นชอบและสนุกสนานมากเป็นพิเศษ แสดงอาการเรียนรู้อย่างตื่นเต้น คือ รูปแบบที่ 3 การเรียนรู้เรื่อง สี รูปทรงนก รองลงมาคือ รูปแบบที่ 2 การเรียนรู้เรื่อง ขนาด (รูปทรงช้าง) สุดท้ายคือ รูปแบบที่ 1 การเรียนรู้ เรื่องรูปทรง (รูปทรงอิสระ) ผลจากการศึกษาสื่อการเรียนรู้นี้สามารถนำมาเป็นแนวทางในการออกแบบสื่อการเรียนรู้และ สามารถนำไปเป็นอุปกรณ์การสอน การจัดกิจกรรมการสอน เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างเหมาะสมและได้ประโยชน์จากการศึกษาอย่างเต็มที่ และ สามารถพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ได้อีกมากมายเพื่อเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเด็กพิการและสังคมต่อไป This research study designed to learn the art media by using the model, the main visual arts to create a conceptual design. Work out in a sculpture that can be tangibly And a painting look easy. To be suitable for children with disabilities and mental. In different forms. Create learning areas. Can help foster the development of emotional learning. The results of the study and analysis has revealed that as a medium of learning disabled children with mental and intellectual. All were female. Aged between 7 years -18 years. Level of disability in the level of intellectual disability and 3 levels at a low level of intellectual disability (intelligence 50-70) as a child with intellectual disability attending school has two levels of the low level of intellectual disability. - medium (35-49 intelligence) is a child who has enough training and level 3, moderate intellectual disability - many (20-34 intelligence) as a child that has to be rehabilitation of medical image and create a vehicle has been. appropriate care. 3 styles of intellectual disabilities at this level. Mental disability groups themselves can do to help. Which must be developed skills in the five self-help skills. Skills muscle - big bunch. Social skills - emotional. Language skills. Cognitive skills that children with disabilities in the brain and intelligence. Development areas will be less than normal children. Teachers to pay attention to individual In order to regain fitness of children. Preparation. Practice using a variety of different activities. From easy to hard to find. Using media as a learning allows children to create opportunities. Do what he thinks to be true. Or what to see and touch. Which was developed by muscle. Impact of the design of learning the art. He is a form of painting to sculpture features a high relief. To develop skills in areas that Divided into three areas: development of learning about shapes, sizes, colors, drawing on a drawing-like style. To appeal to children. The sculpture features a high relief. Is similar to painting. But can be tangible. Handling is appropriate for children. And will be able to develop soft muscle development, and 3 side by side the first to learn about the pattern. To use, free to create a conceptual design. The development of shape from geometry. This is the second fundamental form of learning about size He uses a concept elephants. Because children are interested in elephants. This is a big animal. Size can be divided into several levels of 3, learning about shapes, colors using birds as a concept in the design. Because birds are cute animals live together in groups can be divided into several color When tested with children with disabilities and mental learning materials. Children have an understanding. Easy steps to focus on emotional development training. The level of both painting and sculpture to children interested. I learned what it is. Forms of media can easily understand. Appealing to children. Focus on media concentration. And enhance emotional development because children have fun, happy applause whenever feasible. To develop muscles. Period of learning. Children spend with media attention for a long time complexity is not easy to understand learning disabilities and mental fitness for children, but when comparing the three model forms that most kids have fun and enjoy a very special Symptoms learning sci Model 3 to learn about color, shapes, birds, followed by type 2 learn about the size (shape Chang) Finally type 1 to learn about the pattern (free form). Results from the study of learning materials can be used as a guide in designing learning materials and Can be used as teaching materials. Teaching activities. So that children can learn and benefit from appropriate education and can be fully developed in various forms. Has many benefits for children with disabilities and society.en_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectสื่อการเรียนรู้en_US
dc.subjectศิลปะen_US
dc.subjectเด็กพิการทางสมองen_US
dc.subjectการออกแบบสื่อen_US
dc.subjectArt educational media designen_US
dc.subjectCerebral palsy childrenen_US
dc.titleArt educational media design to emotional development for cerebral palsy childrenen_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthorlakang12@hotmail.comen_US
dc.contributor.emailauthormayuree_jum@hotmail.comen_US
dc.contributor.emailauthornang_2005@hotmail.comen_US
dc.contributor.emailauthornon_ceramic@yahoo.comen_US
dc.contributor.emailauthorarit@rmutp.ac.th


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record