Show simple item record

dc.contributor.authorNgenprom, Nirojnen_US
dc.contributor.authorSanyawuth, Thananen_US
dc.date.accessioned2017-10-20T08:31:46Z
dc.date.available2017-10-20T08:31:46Z
dc.date.issued2017-10-20
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/2231
dc.descriptionรายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2559en_US
dc.description.abstractจากการทดลองวิจัยพบว่าดินลูกรัง ที่ใช้ในการททำวิจัยเป็นดินชั้นคุณภาพ A4 ประเภทของดินทรายแป้ง (Silty Soils) โดยมีอัตราส่วนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 เทากับ 99.20% อัตราส่วนผ่านตะแกรงเบอร์ 10 เทากับ 96.20% อัตราส่วนผ่านตะแกรงเบอร์ 40 เทากับ 92.34% และอัตราส่วนผ่านตะแกรงเบอร์ 200 เทากับ 72.08% ดินลูกรังมีค่าพิกัด Atterberg พิกัดเหลว (Liquid Limit) เทากับ 17.49% พิกัดพลาสติก (Plastic Limit) เทากับ 15.08 % และดัชนีมวลดิน (Plasticity Index) เทากับ 2.41% องค์ประกอบทางเคมีของดินลูกรังพบว่าดินลูกรังมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), อลูมิน่า ออกไซด์ (Al2O3), ไอรอน ออกไซด์ (Fe2O3) เป็น 58.60 %, 25.50%, 13.00% ตามลำดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Quartz ดินลูกรังมีผลการทดสอบหาความหนาแน่นปรากฏมีค่า 2.69 g/cm3, ความถ่วงจำเพาะ 2.32, ค่า Loss on Ignition 3.43 %, การกระจายตัวของขนาดอนุภาค 28.42 μmขนาดรูพรุน 42.62 μm และพรุน ตัว 47.74% การขึ้นรูปตามอัตราส่วนของ ดินลูกรัง – พลาสติก ที่ดินลูกรัง 100%, 90% และ80% ,ไม่สามารถอัดขึ้นรูปได้เนื่องจากดินมีมวลที่ละเอียดเมื่อขึ้นรูปจะไม่เกิดการยึดเกาะระหว่างมวลกับพลาสติกดังรูปในตารางและอัตราส่วนดินลูกรังตังแต่ 70%-0%สามารถขึ้นรูปได้สมบูรณ์ ตัวอย่างทดสอบดินลูกรัง-พลาสติกที่มีกำลังอัดสูงขึ้นตามเวลาที่ทำการกำ เนื่องจากวัสดุ HDPE มีความเหนียวและยืดหยุ่นทำให้วัสดุทดสอบไม่มีการแตกหักแต่จะเปลี่ยนรูปตามแรงที่กระทำ ซึ้งพบว่าดินลูกรังผสมพลาสติกเมื่อเพิ่มปริมาณพลาสติกมากขึ้นกำลังรับแรงเพิ่มตามสำดับผู้ใช้ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงาน ปริมาณดินลูกรัง 50% ขึ้นไปตัวอย่างจบน้ำและปริมาณดินลูกรังตำกว่า 50% ก้อนตัวอย่างทดสอบลอยน้ำ ตัวอย่างสามารถดูซึมน้ำได้น้อยกว่า 30% ทุก ตัวอย่างที่สามารถขึ้นรูปได้ ซึ้งสามารถนำไปใช้ในงานก่อสร้างได้ ดินลูกรังผสมปลาสติกไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือเกิดน้อยมาก ซึ้งเป็นคุณสมบัติที่ดีของวัสดุก่อสร้าง ผลการทดสอบด้วยกล้องขยายกำลัง 50x พบว่าดินลูกรังสามารถขึ้นรูปได้ด้วยการประสานของพลาสติกโดยยิงมีอัตราสวนของพลาสติกมากยิงทำให้มีความสามารยึดเกาะขึ้นรูปและกำลังได้ดีตามไปด้วยen_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectlateritic soilen_US
dc.subjectbricken_US
dc.subjectComposite materialsen_US
dc.subjectดินลูกรังen_US
dc.subjectวัสดุคอมโพสิทen_US
dc.subjectอิฐen_US
dc.titleDevelopment of brick interface as laterite soil composite material for constructionen_US
dc.title.alternativeพัฒนาอิฐประสานจากวัสดุคอมโพสิทดินลูกรังผสมพลาสติกเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้างen_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthorthanan.sa@rmutp.ac.then_US
dc.contributor.emailauthortanant10@hotmail.comen_US
dc.contributor.emailauthorarit@rmutp.ac.then_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record