Show simple item record

dc.contributor.authorMaisak, Rattanavaleeen_US
dc.contributor.authorรัตนาวลี ไม้สักen_US
dc.date.accessioned2018-10-02T12:10:02Z
dc.date.available2018-10-02T12:10:02Z
dc.date.issued2018-10-02
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/2768
dc.descriptionรายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2560en_US
dc.description.abstractตามที่รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีส่งเสริมในนโยบายพัฒนากาลังคนภายในประเทศ โดยได้บูรณาการการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education : Science Technology Engineering and Mathematics Education) ในการจัดการศึกษาในทุกระดับเพื่อมุ่งหวังในการผลิตกาลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้คนไทยสามารถแข่งขันในระดับโลกได้นั้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครได้กาหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและนโยบายของรัฐบาล โดยกาหนดยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล (Digital University) ส่งผลให้มีการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เฉกเช่นเดียวกับการนาเอาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) มาใช้ในงานวิจัยนี้ ด้วยเล็งเห็นถึงความสาคัญของการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาและเทคโนโลยีดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาการเรียนรู้เทคโนโลยี IoT ผ่านการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโดยแบ่งการวิจัยเป็น 3 ส่วนคือ 1. ทางการเรียนการอบรมด้วยเทคโนโลยี IoT ผ่านการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาจานวน 17 หน่วยเรียนและทาการทดสอบเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทคโนโลยี IoT ด้วยสะเต็มศึกษาของนักศึกษาก่อนและหลังเรียนจานวน 2 ครั้งซึ่งผลปรากฎว่า นักศึกษามีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงขึ้นหลังเรียนในทั้งสองครั้ง นอกจากนี้ยังได้เปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการเรียนทั้งสองครั้งโดยใช้ค่าสถิติ t-test dependent พบว่า ผลการสอบนักศึกษามีคะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (การทดสอบครั้งที่ 1 และ 2 มีค่า Sig.เท่ากันคือ .000) แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มส่งผลดีต่อคะแนนสอบของนักศึกษา 2. นักศึกษาสามารถพัฒนาโครงการสารสนเทศด้านเทคโนโลยี IoT ได้หลังจากอบรมเทคโนโลยี IoT ด้วยสะเต็มศึกษาจานวน 5 โครงการภายใต้คาแนะนาของอาจารย์ผู้สอนและประเมินคุณภาพโครงการด้วยการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) จากผู้เชี่ยวชาญสามคนและทุกโครงการได้ผลคะแนนคุณภาพอยู่ในระดับ “ดี” 3. การทดสอบเพื่อวัดเจตคติของนักศึกษาต่อการพัฒนาโครงการสารสนเทศหลังจากอบรมเทคโนโลยี IoT ด้วยสะเต็มศึกษา ผลปรากฎว่า นักศึกษา “เห็นด้วย” ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวโดยมีค่าระดับคะแนนที่ 4.21 จากผลการวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยได้พัฒนา “โมเดลการพัฒนาโครงการสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี IoT ผ่านการจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา” ซึ่งบูรณาการมาจากการเรียนรู้แบบสะเต็ม เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอีกด้วยen_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectInternet of thingsen_US
dc.subjectInterneten_US
dc.subjectDigital Universityen_US
dc.subjectPromoting technology learningen_US
dc.subjectอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง
dc.subjectอินเทอร์เน็ต
dc.subjectมหาวิทยาลัยดิจิทัล
dc.subjectส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยี
dc.titlePromoting the internet of things (IOT) through STEM education as a part of transforming to a digital Universityen_US
dc.title.alternativeการส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในทุกสิ่งผ่านสะเต็มศึกษาเพื่อการก้าวสู่มหาวิทยาลัยดิจิทัลen_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthorrettanavalee.m@rmutp.ac.then_US
dc.contributor.emailauthorarit@rmutp.ac.th


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record