dc.contributor.author | Boonme, Polrut | en_US |
dc.contributor.author | Lakkam, Supachai | en_US |
dc.contributor.author | พลรัชต์ บุญมี | en_US |
dc.contributor.author | ศุภชัย หลักคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-02-16T06:27:56Z | |
dc.date.available | 2020-02-16T06:27:56Z | |
dc.date.issued | 2020-02-16 | |
dc.identifier.uri | http://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/3148 | |
dc.description | Rajamangala University of Technology Phra Nakhon | en_US |
dc.description.abstract | Currently, the automotive industry plays an important role on the economic growth in Thailand. As the same time, the waste of automotive parts has increased as well.
As a results, the automotive parts made from three different natural fiber parts was studied consisting of hyacinths, sugarcane, and pineapple leaf fiber. By of 50 x 250 x 20 mm of mold dimension, the specimens were produced under 700 W of heating stick and measured temperature by a K type of thermometer. There were 3 same proportion specimens made from: 1) sugar cane fiber: husk: latex adhesive 2) water hyacinth fiber: husk: latex adhesive 3) pineapple fiber: husk: latex adhesive in the ratio of 25:25:50 by weight which were formed under temperature between 100GC and 105°C at 5 MPa of pressure and leading to find out the bending moment ability.
The test results show that the specimen made from sugar cane fiber has the highest value 5,482.5 Nand 4,061.11 N/mm2 of bending moment and bending stress respectively. It was more than specimen made of water hyacinth 29.84 % and pineapple fiber 65.01 %. | en_US |
dc.description.sponsorship | ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการขยายตัวเศรษฐกิจในประเทศไทย จึงทำให้เกิดการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เป้นจำนวนมากซึ่งส่งผลให้ซากชิ้นส่วนของยานยนต์ที่เกิดจากการาเสื่อมสภาพ และเสียหายเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
จากปัญหาดังกล่าว แนวคืดการขึ้นรูปส่วนยานยนต์โดยศึกษาจากใยธรรมชาติได้ถูกศึกษาโดยทำเส้นใยธรรมชาติจากวัตถุดิบหลัก ชนิด ได้แก่ ผักตบชวา อ้อย และสับปรด3 มาทำการขึ้นรูปด้ววยแม่พิมพ์ขนาด 52x250x20 มม. (กว้างxยาวxสูง) ขนิดงานทดสอบถูกขึ้นรูปภายใต้แม่พิมพ์ที่ติดตั้งอุปกรณ์ให้ความร้อนแบบเท่งขนาด วัตต์ และตรวจวัดอุณหภูมิด้วยอุปกรณ์วัดอุณหภูมิแบบ 700 Tppe K จากนั้นชิ้นงานที่มีอัตราส่วนเท่ากัน 3 คือ 1(ใยอ้อย:แกลบ:กาก 2) ใยผักตบชวา:แกลบ:กาว และ 3 ) ใยสับปะรด: แกลบ: กาว ในอัตราส่วนร้อยละ 25:25:25:50 โดยน้ำหนัก ถูกขึ้นรูปภายใต้อุรหภูมิระหว่าง 100 และเมกะปาสคาล 5 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 105 ก่อนถูกนำไปทดสอบความสามารถรับโมเมนต์ดัด
ผลการทดสอบพบว่าชิ้นงานที่ทำจากใยอ้อยสามารถรับโมเมนต์ดัดและความเค้นดัดได้สูงสุดคือ 5,482.5 นิวตันมิลลิเมตร และ 4,061.11 นวตันมิลลิเมตร ตามลำดับ ชิ้นงานดังกล่าวมีค่ามากกว่าชิ้นงานที่ทำจากใยผักตลชวาร้อยละ 29.65 และใยสับปะรด ร้อยละ 84.01 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.subject | Natural fiber | en_US |
dc.subject | เส้นใยธรรมชาติ | en_US |
dc.subject | Automotive industry | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์ | en_US |
dc.title | Forming of synthetic materials with natural fiber under high pressure and temperature to produce automotive parts | en_US |
dc.title.alternative | การขึ้นรูปวัสดุสังเคราะห์เส้นใยธรรมชาติภายใต้สภาวะความดันและอุณหภูมิสูงเพื่อผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ | en_US |
dc.type | Research Report | en_US |
dc.contributor.emailauthor | arit@rmutp.ac.th | en_US |