dc.contributor.author | Ngenprom, Nirojn | en_US |
dc.contributor.author | นิโรจน์ เงินพรหม | en_US |
dc.contributor.author | Sanyawuth, Thanan | en_US |
dc.contributor.author | ธนันท์ ศัลยวุฒิ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-12-08T10:25:04Z | |
dc.date.available | 2020-12-08T10:25:04Z | |
dc.date.issued | 2019-09-18 | |
dc.identifier.uri | http://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/3526 | |
dc.description | รายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | จากการทดลองวิจัยพบว่าองค์ประกอบทางเคมีของเถ้าแกลบมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), แคลเซียม ออกไซด์ (CaO), โพแทสเซียม ออกไซด์ (K2O) เป็น 94.00%, 2.00%, 2.80% ตามลำดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Cristobalite เถ้าแกลบมีผลการทดสอบหาความหนาแน่นปรากฏมีค่า 2.24 g/cm3, ความถ่วงจำเพาะ 1.43, ค่า Loss on Ignition 7.94 %, การกระจายตัวของขนาดอนุภาค 53.65 μm พื้นที่ผิว Single point BET 30.07 m2/g พื้นที่ผิว Multi point BET 30.44 m2/g การขึ้นรูปตามอัตราส่วนของ เถ้าแกลบ – พลาสติก ที่เถ้าแกลบ 100%และ,90 % ไม่สามารถอัดขึ้นรูปได้เนื่องจากเถ้าแกลบมีมวลที่ละเอียดเมื่อขึ้นรูปจะไม่เกิดการยึดเกาะระหว่างมวลกับพลาสติกดังรูปในตารางและขึ้นรูปได้แต่ไม่สมบูรณ์ที่ เถ้าแกลบ 80% ส่วนอัตราส่วนเถ้าแกลบตั้งแต่ 70%-0% สามารถขึ้นรูปได้สมบูรณ์ ตัวอย่างทดสอบเถ้าแกลบ-พลาสติกที่มีกำลังอัดน้อยกว่า 70 ksc. ที่อัตราส่วนเถ้าแกลบ 60% ขึ้นไป ตัวอย่างกำลังระหว่าง 70-100 ksc. 2 ตัวอย่างที่อัตราส่วนเถ้าแกลบที่ 40-50% และมากกว่า 100 ksc. ที่อัตราส่วนเถ้าแกลบที่น้อยกว่า 30% โดยสามารถรับกำลังได้สูงสุดที่ 200.79 ksc. เถ้าแกลบผสมพลาสติกเมื่อเพิ่มปริมาณพลาสติกมากขึ้นกำลังรับแรงเพิ่มตามลำดับ ผู้ใช้ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงาน ปริมาณเถ้าแกลบ 70% ขึ้นไปตัวอย่างจมน้ำและปริมาณเถ้าแกลบต่ำกว่า 60% ก้อนตัวอย่างทดสอบลอยน้า ตัวอย่างสามารถดูดซึมน้าได้น้อยกว่า 30% ทุกตัวอย่างที่สามารถขึ้นรูปได้ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในงานก่อสร้างได้ เถ้าแกลบผสมปลาสติกไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือเกิดน้อยมาก ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ดีของวัสดุก่อสร้าง จากการทดสอบด้วยกล้องขยายกาลัง 50x พบว่าดินลูกรังสามารถขึ้นรูปได้ด้วยการประสานของพลาสติกโดยยิ่งมีอัตราส่วนของพลาสติกมากยิ่งทำให้มีความสามารยึดเกาะขึ้นรูปและกำลังได้ดีตามไปด้วย | en_US |
dc.description.sponsorship | Rajamangala University of Technology Phra Nakhon | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.subject | Rice husk ash | en_US |
dc.subject | เถ้าแกลบ | en_US |
dc.subject | Waste Ash | en_US |
dc.subject | เถ้าทิ้ง | en_US |
dc.subject | Composite Materials | en_US |
dc.subject | วัสดุคอมโพสิท | en_US |
dc.title | Development of waste ash composite materials from industrial and agricultural as construction materials | en_US |
dc.title.alternative | พัฒนาวัสดุคอมโพสิทเถ้าทิ้งจากการผลิตในอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป็นวัสดุก่อสร้าง | en_US |
dc.type | Research Report | en_US |
dc.contributor.emailauthor | nirojn.n@rmutp.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailauthor | thanan.sa@rmutp.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailauthor | arit@rmutp.ac.th | en_US |