Show simple item record

dc.contributor.authorNgenprom, Nirojnen_US
dc.contributor.authorนิโรจน์ เงินพรหมen_US
dc.contributor.authorPradmali, Sajjachanen_US
dc.contributor.authorสัจจะชาญ พรัดมะลิen_US
dc.contributor.authorSanyawuth, Thananen_US
dc.contributor.authorธนันท์ ศัลยวุฒิen_US
dc.date.accessioned2021-09-14T16:41:32Z
dc.date.available2021-09-14T16:41:32Z
dc.date.issued2021-09-14
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/3706
dc.descriptionรายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2561en_US
dc.description.abstractจากการทดลองวิจัยพบว่าดินเป็นชั้นคุณภาพ A4 ประเภทของดินทรายแป้ง (Silty Soils) ผลการขึ้นรูปตามอัตราส่วนของ ดินลูกรัง – พลาสติก-ทราย ดินลูกรังและทรายที่ไมมีเรซินเป็นตัวประสานไมสามารถขึ้นรูปได้ และ ดินลูกรังและทรายที่มีเรซิน น้อยกว่า 20 % ไม่สามารถขึ้นรูปได้เนื่องจากปริมาณตัวประสานไมสามารถยึดเกาะกันระหว่างมวลกับพลาสติก กำลังอัดของ คอมโพสิตพรุน ขนาด 1 CM. สามารรับกำลังอัดตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 0.67 Ksc. และสูงสุดอยู่ที 6.37 Ksc. , กำลังอัด คอมโพสิตพรุน ขนาด 2 CM. สามารรับกำลังอัดตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 2.1 Ksc. และสูงสุดอยู่ที 79.1Ksc.,คอมโพสิตพรุน ขนาด 3 CM. สามารรับกำลังอัดตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 6.77 Ksc. และสูงสุดอยู่ที 132.03Ksc.,คอมโพสิตพรุนขนาด 4 CM. สามารรับกำลังอัดตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 4.6 Ksc. และสูงสุดอยู่ที 138.17Ksc., คอมโพสิตพรุน 5 CM. สามารรับกำลังอัดตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 22.3 Ksc. และสูงสุดอยู่ที 143.20 Ksc.ความสามารถในการดูน้ำความชื่นลดลงตามปริมาณเรซิ่นที่เพิ่มขึ้นตำสุดที่สามารขึ้นรูปและทดสอบได้อยู่ที 0.0%. และสูงสุดอยู่ที 20.02% อ๊อกซีเจนในน้ำ (Dissolved) ของดินคอมโพสิตพรุน ทุกขนาก มีค่ามากกว่า 3 ปลอดภัย นำไปใช้เป็นวัสดุเพิ่มค่า อ๊อกซีเจนในน้ำเลียงสัตว์น้ำได้ อัลคาไลนิตี้ (Total alkalinity), kH ค่าทีน้อยทีสุดได้สูงสุดอยู่ที่ 238 มิลิกรัมต่อลิตร สูงสุดอยู่ที 549 มิลิกรัมต่อลิตร ทุกอัตราส่วนไม่สามารถ ลดค่าแอมโมเนีย (Ammonium) ให้ได้ตามมาตราฐาน ค่า ไนไตรท์ (Nitrite) ทุกอัตราส่วนสามารถ ลด ได้ตามมาตราฐาน ค่า PH กรด-ด่าง (PH indicator strips) เป็นตามมาตราฐาน 6.50-8.50 ค่าอยู่ที่ 7 – 9 ดังนั้นการเลื่อกใช้งานให้เหมาะกับคุณสมบัตของวัสดุแต่ละขนาดและอัตราส่วนผสมen_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectBuilding materialsen_US
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างen_US
dc.subjectlateriteen_US
dc.subjectดินลูกรังen_US
dc.subjectcomposite materialsen_US
dc.subjectวัสดุคอมโพสิตพรุนen_US
dc.titleDevelopment of composite materials by laterite and sand as plastic for porous materialen_US
dc.title.alternativeพัฒนาวัสดุคอมโพสิตพรุนจากดินลูกรังและทรายผสมพลาสติกเป็นวัสดุกรองen_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthornirojn.n@rmutp.ac.then_US
dc.contributor.emailauthorsajachan@gmail.comen_US
dc.contributor.emailauthorthanan.sa@rmutp.ac.then_US
dc.contributor.emailauthorarit@rmutp.ac.then_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record