Show simple item record

dc.contributor.authorชญาภัทร์ กี่อาริโย
dc.contributor.authorดวงรัตน์ แซ่ตั้ง
dc.contributor.authorเกศรินทร์ เพ็ชรรัตน์
dc.contributor.authorชมภูนุช เผื่อนพิภพ
dc.contributor.authorดวงกมล ตั้งสถิตพร
dc.contributor.authorนพพร สกุลยืนยงสุข
dc.date.accessioned2012-04-26T09:28:39Z
dc.date.available2012-04-26T09:28:39Z
dc.date.issued2012-04-26
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/960
dc.descriptionรายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2554en_US
dc.description.abstractการศึกษาการใช้แป้งกล้วยเป็นสารให้ความคงตัวในไอศกรีมกะทิ เนื่องจากต้องการเพิ่มมูลค่าให้กับกล้วยน้ำว้า ซึ่งเป็นผลไม้ของไทย จากการทดลองได้ทำการศึกษาปริมาณการใส่แป้งกล้วยในไอศครีมกะทิ 4 สูตร 1.5, 4, 7.5และ 9 กรัม พบว่า ผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับสูตรที่ 3 ซึ่งมีการเติมปริมาณแป้งกล้วยปริมาณ 7.5 กรัม จากนั้นได้ทำการวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ พบว่า ไอศกรีมมีค่าความหนืดเท่ากับ 705.43±6.16 cps , ค่าโอเวอร์รัน 47.60±0.11 %, ค่าการละลายที่เวลา 30 นาที มีค่าเท่ากับ 25.50±0.12 % ส่วนการวิเคราะห์คุณภาพทางเคมี พบว่า ไอศครีมมีค่าความเป็นกรด-ด่างที่ 5.98±0.02 และมีค่าของแข็งที่ละลายน้ำได้เท่ากับ 20.50±0.43 องศาบริกซ์ จากการวิเคราะห์คุณค่าทางด้านโภชนาการของไอศครีมกะทิแป้งกล้วย พบว่า หนึ่งหน่วยบริโภค: 1 ถ้วย (100 กรัม) คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภคโปรตีน 1.78 กรัม ไขมัน 6.06 กรัม คาร์โบไฮเดรต 18.94 กรัม ความชื้น 72.76 กรัม เถ้า 0.46 กรัม ไอศกรีมกะทิแป้งกล้วยมีอายุการเก็บ 3 วัน ในสภาวะอุณหภูมิ-20 องศาเซลเซียส โดยตรวจพบปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค และทำให้อาหารเน่าเสียในปริมาณที่ยอมรับได้en_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectการพัฒนาผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectการผลิตอาหารจากกล้วยen_US
dc.titleBanana flour is substance to the stability of coconut milk ice creamen_US
dc.title.alternativeการใช้แป้งกล้วยเป็นสารให้ความคงตัวในไอศครีมกะทิen_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthorarit@rmutp.ac.th


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record